ประกันสุขภาพทั่วไปในปัจจุบันเป็นแบบเหมาจ่ายค่ารักษา แต่ไม่ได้เหมาจ่ายค่าห้อง วันนี้มีประกันสุขภาพเหมาจ่ายดีเฮลท์พลัส Dhealth Plus เข้าใจง่ายและเหมาจ่ายค่าห้องเดี่ยวมาตรฐาน Standard single room จ่ายตามจริงไม่ว่าโรงพยาบาลเอกชนหรือรัฐบาลไม่ต้องจ่ายส่วนต่างค่าห้องเพิ่ม และเหมาจ่ายค่ารักษาเมื่อนอนแอดมิดโรงพยาบาลครั้งละ 5 ล้านบาทไม่จำกัดจำนวนครั้งและ ไม่จำกัดวงเงินต่อปี
ไม่เหมือนประกันสุขภาพทั่วไปที่เบิกได้ 2,000 / 3,000 / 4,000 บาท ซึ่งหากเข้ารักษาในห้องเดี่ยวมาตรฐาน ยกตัวอย่าง รพ.กรุงเทพ ค่าห้องพักเดี่ยวมาตรฐานวันละ 11,300 บาท ประกันสุขภาพเหมาจ่ายทั่วไปต้องจ่าย
ส่วนต่างค่าห้องพักเพิ่มวันละ 9,300 /8,300/7,300 แต่ถ้าทำประกันสุขภาพดีเฮลท์เหมาจ่ายค่าห้องเดี่ยวมาตรฐาน 11,300 บาท ไม่ต้องจ่ายค่าห้องส่วนต่างๆ สมมติในอนาคต 10 ปีข้างหน้าค่าห้องเดี่ยวมาตรฐานเพิ่ม
เป็นคืนละ 20,000 บาท ประกันสุขภาพเหมาจ่ายดีเฮลท์D-Health ก็จ่ายตามจริง เพราะเงินเฟ้อค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น 10-30% ทุกปี คุณคิดว่าเหมาจ่ายค่าห้องกับประกันสุขภาพดีเฮลท์พลัสดีไหมครับ ?? วันนี้ค่าห้อง
พัก ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาล วันละ 10,000 บาท เงินเฟ้อค่ารักษาพยาบาลปีละ 10% ในอีก 10 ปีข้างหน้า อาจจะเพิ่มเป็น 20,000 - 30,000 บาทต่อคืน แต่ถ้าคุณเลือกประกันสุขภาพเหมาจ่ายดีเฮลท์พลัส ไม่ว่าจะ
เพิ่มขึ้นเป็น 50,000 หรือ 100,000 บาทต่อคืน ก็จ่ายตามจริงในราคาห้องพักเดี่ยวมาตรฐาน ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าห้องหรือต้องจ่ายส่วนต่างเพิ่ม
รัฐบาลและเอกชนครั้งละ 1 ล้าน และ 5 ล้านบาท ไม่จำกัดจำนวนครั้ง และไม่จำกัดจำนวนครั้งต่อปีประกันสุขภาพเหมาจ่ายทั่วไปเหมาจ่ายค่ารักษา ครั้งละ 1 ล้าน หรือปีละ 1 ล้านบาท หรือปีละ 5 ล้านบาทถ้าค่ารักษาพยาบาลครบวงเงิน 5 ล้านบาท ก็ต้องจ่ายส่วนต่างหรือส่วนที่เหลือเอง เนื่องจากค่ารักษาพยาบาลในปัจจุบันค่อนข้างสูง ยกตัวอย่าง หากตรวจพบว่าเป็นมะเร็งค่ารักษา 1 ล้านต่อครั้ง หรือต่อปีอาจจะไม่เพียงพอ ดังนั้นประกันสุขภาพเหมาจ่ายดีเฮลท์พลัสคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลครั้งละ 1 ล้าน และ 5 ล้านบาทไม่จำกัดจำนวนครั้ง และไม่จำกัดวงเงินต่อ จะตอบโจทย์เรื่องค่ารักษาพยาบาลของคุณได้เพียงพอแน่นอน
หากเปรียบเทียบกับการเหมาจ่ายห้องเดี่ยวมาตรฐานทุกโรงพยาบาลแล้ว เช่น รพ บำรุงราษฏร์ อัตราค่าห้องเดี่ยวมาตรฐาน 14,000 บาท/วัน และ ค่ารักษาเหมาจ่ายครั้งละ 5 ล้านบาท
เทียบกับเบี้ยประกัน 20,000 - 30,000 บาท(เบี้ยประกันสำหรับอายุ 30 ปี) ถือว่าเบี้ยไม่แพงเลย
ประกันคุ้มครองชีวิต 99/99 ทุนประกัน 50,000 บาท - เสียชีวิตทุกกรณีรับเงินสินไหม 50,000 บาท
ประกันสุขภาพเหมาจ่ายดีเฮลท์พลัส เหมาจ่ายปีละ 5 ล้านบาท - เจ็บป่วยไม่สบาย ผ่าตัด นอนห้องเดี่ยว รพ เอกชนได้ทุกที่ทั่วประเทศ เบิกค่ารักษาครั้งละ 5 ล้านบาท ไม่จำกัดวงเงินต่อปี
ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล 200,000 บาท ค่ารักษาครั้งละ 30,000 บาท - หากเกิดอุบัติเหตุรถชน หกล้ม มีดบาด สุนัขกัด แมวข่วน เบิกค่ารักษาผู้ป่วยนอกได้สูงสุดครั้งละ 30,000 บาท
ประกันโรคร้ายแรงแคร์พลัส มะเร็งและไตวายเรื้อรัง 10 ล้านบาท - ตรวจเจอมะเร็งต้องผ่าตัด ฉายแสง คีโม กินยาฉีดยา Tageted และไตวายเรื้อรัง เบิกค่ารักษา IPD/OPD ปีละ 10 ล้านบาท
อายุ(ปี) | ผู้ชายเบี้ยปีละ* | ผู้หญิงเบี้ยปีละ* |
11 - 20 ปี | 21,830 บาท | 23,248 บาท |
21 - 25 ปี | 21,084 บาท | 22,960 บาท |
26 - 30 ปี | 22,451 บาท | 25,026 บาท |
31 - 35 ปี | 25,025 บาท | 27,390 บาท |
36 - 40 ปี | 28,292 บาท | 31,045 บาท |
41 - 45 ปี | 33,702 บาท | 37,018 บาท |
46 - 50 ปี | 38,838 บาท | 41,354 บาท |
51 - 55 ปี | 50,145 บาท | 52,055 บาท |
56 - 60 ปี | 68,870 บาท | 69,180 บาท |
61 - 65 ปี | 94,689 บาท | 93,584 บาท |
66 - 70 ปี | 128,118 บาท | 124,670 บาท |
71 - 75 ปี | 177,323 บาท | 170,478 บาท |
เงื่อนไขการรับประกันภัย
อายุที่รับประกัน : อายุ 11-80 ปี
ระยะเวลาคุ้มครอง : ต่ออายุได้ถึงอายุ 98 ปี คุ้มครองต่อถึงอายุ 99 ปี
เบี้ยประกันสัญญาเพิ่มเติมสุขภาพนำไปลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาท
วิธีการชำระเบี้ยประกัน
1. โอนเข้าบัญชีผ่าน Mobile banking หรือเค้าน์เตอร์ทุกธนาคาร
2. ชำระด้วยบัตรเครดิตทุกธนาคาร(ไม่มีค่าธรรมเนียม)
3. ชำระด้วยเงินสดพร้อมรับใบเสร็จรับเงินจากบริษัท
สมัครทำประกันง่าย ๆ เพียง 6 ขั้นตอนดังนี้
1.แจ้งชื่อ เพศ และวันเดือนปีเกิด
2.แจ้งแบบประกัน ทุนประกันที่ต้องการ
3.รอรับใบเสนอขายจากตัวแทนทางไลน์หรืออีเมล์
4.นัดหมายตัวแทนเข้าไปทำประกันโดยโทร
5.เข้าไปทำประกันที่บ้านพร้อมอธิบายรายละเอียด เก็บเอกสารและเบี้ยประกัน(โอนเข้าบัญชี Mobile banking บ.เมืองไทยประกันชีวิต)
6.ตัวแทนนำเอกสาร/เบี้ยประกันส่งเข้าบริษัท และอนุมัติ 3-15 วัน
เอกสารที่ใช้ทำประกัน
1. สำเนาบัตรประชาชนผู้เอาประกัน 1 ชุด
กรณ์ธินันท์ ดำรงเวชวาณิชย์ (เบิร์ด)
ที่ปรึกษาการเงินและประกันชีวิต / ผู้จัดการขายเมืองไทยประกันชีวิต
เงื่อนไขที่ผู้ทำประกันต้องทราบ
1. ระยะเวลารอคอย Waiting Period
2. เกณฑ์การตรวจสุขภาพ
2.1 หากมีประวัติเจ็บป่วย / แอดมิดนอนโรงพยาบาล ทางบริษัทจะขอตรวจสุขภาพ โดยต้องชำระเบี้ยและกรอกใบสมัครเข้ามาให้บริษัทพิจารณา
และทางบริษัทจะออกหนังสือให้ไปตรวจสุขภาพ ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย โดยบริษัทจ่ายค่าตรวจให้ทั้งหมด โดยตัวแทนจะพาลูกค้าไปตรวจที่ โรงพยาบาลเอกชนในเครือข่ายบริษัท
2.2 หากมีประวัติผ่าตัด หรือรักษาตัวในโรงพยาบาลทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ทางบริษัทจะต้องขอประวัติการรักษาทุกโรงพยาบาล โดยมีวิธีขอประวัติ 2 วิธี
2.3 ถ้าผู้ทำประกันมีประวัติการตรวจสุขภาพ ตรวจเลือด ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ตรวจชิ้นเนื้อ สามารถนำมาแนบประกอบการสมัครได้
3. ข้อยกเว้นของประกันสุขภาพ 21 ข้อ
1. ภาวะที่เป็นผลจากความผิดปกติที่เกิดขึ้นแต่กำเนิด หรือระบบการสร้างอวัยวะของร่างกายไม่สมบูรณ์แต่กำเนิด หรือโรคทางพันธุกรรม
2. การตรวจรักษา ผ่าตัดเพื่อเสริมสวยหรือแก้ไขปัญหาผิวพรรณ สิว ฝ้า กระ รังแค ผมร่วง หรือการควบคุมน้ำหนักตัว
3. การตั้งครรภ์ แท้งบุตร ทำแท้ง การคลอดบุตร โรคแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ การแก้ไขการมีบุตรยาก การทำหมันหรือการคุมกำเนิด ยกเว้น มะเร็งครรภ์ไข่ปลาอุก (Choricocarcinoma)
4. โรคเอดส์ หรือกามโรค หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยโรคเอดส์
5. การตรวจรักษา หรือป้องกันการใช้ยา หรือสารต่าง ๆ เพื่อชะลอการเสื่อมของวัย
6. การตรวจสุขภาพ การร้องขอเข้าอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาล
7. การตรวจรักษาความผิดปกติเกี่ยวกับสายตา การทำเลสิค
8. การตรวจรักษา หรือผ่าตัด เกี่ยวกับฟัน หรือเหงือก การทำฟันปลอม การครอบฟัน การอุดฟัน การรักษารากฟัน การจัดฟัน ขูดหินปูน ถอนฟัน การใส่รากฟันเทียม
9. การรักษาหรือบำบัดยาเสพติดให้โทษ บุหรี่ สุรา หรือสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
10. การตรวจรักษา หรืออาการ หรือโรคเกี่ยวกับภาวะทางจิต โรคทางจิตเวช รวมถึงสมาธิสั้นออธิสซึม เครียด
11. การตรวจรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการทดลอง การตรวจรักษาโรคหรือการหยุดหายใจขณะหลัก การนอนกรน
12. การปลูกฝี หรือการฉีดวัคซีนป้องกันโรค ยกเว้นวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า วัคซีนบาดทะยัก
13. การตรวจรักษาที่ไม่ใช่แพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์ทางเลือก
14. การตรวจรักษาผู้เอาประกันที่แพทย์สั่งให้แก่ตัวเอง หรือบิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เอาประกันภัย
15. การฆ่าตัวตาย การพยายามฆ่าตัวตาย การทำร้ายร่างกายตัวเอง
16. การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุภายใต้ฤทธิ์สุรา
17. การบาดเจ็บที่ขณะก่ออาชญากรรมที่มีความผิดสถานหนัก ขณะถูกจับกุม หรือหนีการจับกุม
18. การบาดเจ็บระหว่างแข่งรถ หรือเรือ ชกมวย เจ็ตสกี แข่งสเก็ต พารามอเตอร์ ร่มบิน เครื่องร่อน บอลลูน บันจี้จั๊มป์ ดำน้ำใช้ถังอากาศ
19. สงคราม
20. การก่อการร้าย
21. การแผ่รังสี หรือการแพร่กัมมันตภาพรังสีเชื้อเพลิงนิวเคลียร์